วันอังคารที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2552

สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาและความยั่งยืน การเสนอแนะแนวทางออกปัญหาสิ่งแวดล้อม


กิจกรรม

ทำผังความคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาและความยั่งยืน การเสนอแนะแนวทางออกปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยใช้โปรแกรมฟรีไมน์จากเนื้อหาต่อไปนี้


ความหมายของดุลยภาพระหว่างการพัฒนากับสิ่งแวดล้อม

ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน

องค์ประกอบสำคัญที่จะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
1. มิติทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ
2. การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากร
3. การส่งเสริมบทบาทของกลุ่มต่างๆที่สำคัญ
4. วิธีการในการดำเนินงาน

แนวทางสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

แนวทางสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศไทย
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1.1 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2 หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2.1 ความพอประมาณ
1.2.2 ความมีเหตุผล
1.2.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
1.3 เงื่อนไขที่จะทำให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียง
1.3.1 ความรู้
1.3.1 คุณธรรม
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ

2. เทคโนโลยีที่นำมาใช้ จำนวนประชากร และผลผลิตจากการพัฒนา

3. พื้นฐานของทุนที่ตัวเองมี

4. การพัฒนาที่ยั่งยืนในลักษณะเชิงรุก

5. การมีส่วนร่วมของชุมชนในท้องถิ่น

กรณีศึกษา
1. พื้นที่จัดการล่าสัตว์แบบซาฟารีอย่างยั่งยืนในประเทศแซมเบีย ทวีปแอฟริกา รายได้ให้ชุมชนโดยตรง

2. ช้างป่าแอฟริกาในประเทศเคนยาและซิมบับเว ทวีปแอฟริกา สิทธิ์เป็นเจ้าของช้างป่าในที่ดินชุมชน

3. ป่าไม้ในประเทศเยอรมนี ทวีปยุโรป องค์การบริหารท้องถิ่นพึ่งตนเองได้

4. ชาวอินเดียแดง จงเอาเท่าที่จำเป็น

5. ชุมชนไม้เรียง ตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคใต้ คนในชุมชนต้องแก้ปัญหาด้วยตนเอง

6. ตัวอย่างเกษตรกรจังหวัดสุรินทร์ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6.1 มหาอยู่ สุนทรธัย ออม
6.2 ปฏิพัทธ์ จำมี พึ่งตนเองให้มากที่สุด
6.3 โบตั๋น แสนมี ให้ธรรมชาติจัดการ
6.4 กัญญา อ่อนศรี ชีวิตเรียบง่าย
6.5 ทองมา เปรียบยิ่ง ถ่ายทอดความรู้สู่เพื่อน
6.6 สุวรรณ กันภัย สมดุล
6.7 สุข ทองอ้ม ลองด้วยตนเอง

7. ประเทศที่มีความสุข พอใจกับสิ่งเล็กน้อย

การใช้ icon หมายเลขหน้าข้อความ
คลิกที่หมายเลขด้านซ้ายมือ

หัวข้อย้อย เช่น 1.1 ให้คลิก 11 โดยไม่ต้องมีจุดคั่นกลาง

การแก้ไขข้อความให้สั้น
คลิกเมาส์ขวามือที่ข้อความนั้น > คลิก Edit Long Node...> ปรับความยาวของข้อความ > คลิก OK

ดูวิธีใช้โปรแกรมฟรีไมน์ คลิกที่นี่ http://envisurin.blogspot.com/2009/11/freemind.html

วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) : แหล่งศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

  • คลิกชื่อนักศึกษาเพื่อเปิดบล็อกของตนเอง
  • ลงชื่อเข้าใช้งาน
  • คลิกความคิดเห็นท้ายบทความในหน้าแรกเพื่อดูผลการตรวจผลงาน
  • คลิกปรับแต่ง คลิกแผงควบคุม
  • ที่ช่องแสดงเป็น 1 บทความ
  • ที่ช่องรูปแบบส่วนหัวของวันที่เป็น วันอังคาร,ธันวาคม 22,2009
  • ที่ช่องรูปแบบเวลาเป็น 13:10
  • ที่ช่องโซนเวลาเป็น (GMT+07:00 กรุงเทพ)
  • คลิกบันทึกการตั้งค่า คลิกดูบล็อก
  • คลิกบทความใหม่
  • คัดลอกชื่อเรื่องจากบทความของครูไปวางลงในช่องชื่อเรื่องของตนเอง
  • หน้าต่างที่ 2เปิด http://www.google.co.th >ที่มุมบนซ้ายมือคลิกรูปภาพ
  • ค้นหารูปภาพจากข้อ 1-15 โดยใช้รูปภาพไม่ซ้ำกับตัวอย่างนี้
  • แสดงรายละเอียดใต้รูปภาพตามที่กำหนด

  • 1.อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จ.ปราจีนบุรี สระบุรี นครนายก และโคราช


2. อุทยานแห่งชาติภูกระดึงจ.เลย


4.วนอุทยานพนมสวายอ.เมือง จ.สุรินทร์
















5.สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จ.เชียงใหม่




6.สัตว์ป่าเขตรักษาพันธุ์ห้วยทับทัน - ห้วยสำราญอ.กาบเชิง จ.สุรินทร์

รูปนี้สนใจน้ำตก ความใสของน้ำ ทึ่งว่าจังหวัดของเรามีธารน้ำสวยขนาดนี้เชียว



  7. สถานีวิจัยสัตว์ป่าภูหลวงจ.เลย

รูปนี้สนใจสีของดอกกล้วยไม้ ในกลุ่มสีชมพูยังแยกออกไปหลายชนิดธรรมชาติจัดสรรอย่างลงตัว

15.สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลมหาวิทยาลัยบูรพาจ.ชลบุรี




http://www.aquariumthailand.com/wp-content/uploads/2009/04/aq_chonburi-bims_020.jpg

คลิปวิดีโอ วนอุทยานป่าสนหนองคูอ.สังขะ จ.สุรินทร์ คลิกที่นี่http://www.fukduk.tv./13/5

แบบฝึกหัดแหล่งศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ความหลากหลายทางชีวภาพ (1)

(หัวข้อ) 1. ความหลากหลายของพันธุกรรม
(คำอธิบายรูปภาพ) ชาวคอเคเชียน (ชาวผิวขาว) มีความเสี่ยงของศีรษะล้านจากพันธุกรรมในผู้ชายมากถึง 7 เท่า.
(ชื่่อบทความและพ.ศ.ของบทความ) ยีนศีรษะล้าน: ชาย 1 ใน 7 คนมีความเสี่ยง. (2551).
(ที่อยู่URLของบทความ)
http://www.biotec.or.th/biotechnology-th/newsdetail.asp?id=4544
(ความคิดเห็นของเราต่อบทความ) ความเข้าใจเกี่ยวกับโครโมโซม เป็นเหมือนรหัสชีวิตมนุษ
ย์


3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ
แม่น้ำสงครามเป็นแม่น้ำสายหนึ่งในภาคอีสานตอนบนที่ไหลลงสู่แม่น้ำโขง.
เมนูเด็ดจากลุ่มน้ำสงคราม ไผ่กะซะ...สุดยอดอาหาร (1). (2550).
http://www.oknation.net/blog/virayuth/2007/09/23/entry-1
แหล่งอาหารของสรรพสิ่งที่มีชีวิต

5. การรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
Sucker catfish หรือปลากดเกราะ หรือที่ประชาชนรู้จักในชื่อปลาเทศบาล.
ใครสนับสนุน เอเลียนสปีชีส์ รุกรานและทำลายนิเวศ-พันธุกรรมท้องถิ่นไทย. (2552).
http://www.oknation.net/blog/krasean/2009/06/01/entry-1
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นมีมากมาย ความสมดุลย์ของการปรับตัวเป็นสิ่งสำคัญ


7. จีเอ็มโอหรือการตัดต่อพันธุกรรม
มะละกอจีเอ็มโอ.
บทเรียนจากฮาวายสู่เกษตรกรไทย. (2546).
http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/News/[210]1-15July2546.html#news[6]
ทางออกสำหรับผู้บริโภค ต้องกินให้หลากหลาย

(หัวข้อ) 8. การค้าขายพืช สัตว์ป่า และผลิตภัณฑ์จากป่าอย่างผิดกฎหมาย ในประเทศไทย
(คำอธิบายรูปภาพ) ลิงพันธุ์มาโมเซต ซึ่งเป็นลิงขนาดเล็ก มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้.
(ชื่่อบทความและพ.ศ.ของบทความ) ลิงจิ๋ว" สัตว์เลี้ยงใหม่เศรษฐี เข้ามาในไทยแล้ว. (2551).
(ที่อยู่URLของบทความ)
http://blog.eduzones.com/kmitl/2416?page2=27&page=&page3=
(ความคิดเห็นของเราต่อบทความ) ทุกชีวิตมีค่า ต้องการอิสระ คำถามที่ถามว่าอะไรเป็นเหตุให้มนุษย์แตกต่างกัน บางคนมีโรคมาก หรืออายุสั้น พระพุทธเจ้าตอบว่า การเบียดเบียนสัตว์ และการฆ่าสัตว์

แบบฝึกหัด 1   แบบฝึกหัด2



วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การใช้งานโปรแกรม FreeMind



























การเลื่อนหัวข้อจากด้านขวามือไปด้านซ้ายมือของชื่อเรื่องหรือจัดลำดับจากด้านล่างให้มาอยู่ด้านบน
1. คลิกเมาส์ซ้ายมือค้างไว้ที่ข้อความนั้น ปรากฏแถบสีดำ เคอเซอร์เปลี่ยนเป็นลูกศรมีสี่เหลี่ยมอยู่ด้านล่าง
2. ลากเมาส์ไปตำแหน่งใหม่

การแก้ไขข้อความให้สั้น
คลิกเมาส์ขวามือที่ข้อความนั้น > คลิก Edit Long Node...> ปรับความยาวของข้อความ > คลิก OK


การปรับขนาดตัวอักษรทั้งหมดในครั้งเดียว
คลิกเมาส์ขวามือที่ข้อความนั้น > คลิก Select All Visible > ที่มุมบนขวามือคลิกเลือกขนาดที่ต้องการ > คลิกเมาส์ซ้ายตรงที่ว่าง


การตั้งค่าหน้ากระดาษสำหรับพิมพ์
คลิก File > Page Setup..> คลิกในช่องสี่เหลี่ยมหน้า Fit to One Page > OK > คลิกในวงกลมหน้า Landscape > OK


การปรับให้มี 2 หน้าจอพร้อมกัน
ที่มุมบนขวามือ คลิก ปรากฏ
ที่มุมบนซ้ายมือ คลิกเมาส์ปรากฏ 2 หัวลูกศร คลิกเมาส์ซ้ายมือค้างไว้ ลากลดขนาดหน้าจอ

ศึกษาเพิ่มเติม


การติดตั้งโปรแกรม FreeMind

1. คลิกที่ http://www.design.kmutt.ac.th/FreeMind.htm

2. ติดตั้งจาวา คลิกที่ JRE for FreeMind

3. ติดตั้งฟรีไมน์ คลิกที่ FreeMind

เฉลยแบบฝึก


วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม
1. ที่ช่องค้นหาพิมพ์ที่อยู่บล็อกของตนเอง ตัวอย่างเช่น http://envisurin.blogspot.com
2. คลิกลงชื่อเข้าใช้งาน
3. คลิกความคิดเห็นท้ายบทความเพื่อดูคะแนนการเรียนสัปดาห์ที่ 2 เมื่อวันที่ 3,4 พ.ย. 2552
ถ้าไม่มี แจ้งอาจารย์ให้ทราบ ยกเว้นผู้ที่เขียนลงกระดาษA4
4. ถ้ายังไม่ปรับแต่งบล็อกให้ชื่อบล็อกเป็นชื่อเล่นภาษาไทยตามด้วยเลขประจำตัว 2 ตัวสุดท้าย วันที่ของบทความเป็นวันที่ปัจจุบัน และเวลาท้ายบทความเป็นชั่วโมงและนาที ตัวอย่างเช่น 21:29 ให้ปรับแต่งโดยเปิดดูที่ http:// geosurin.blogspot.com > คลิกที่พฤศจิกายน>คลิกที่คลังบทความด้านขวามือ > คลิกที่การปรับแต่งบล็อกบันทึกงาน และปฏิบัติตามนั้น ซึ่งการตรวจอันดับแรกจะดูว่าบล็อกมีการปรับแต่งแล้วหรือไม่
5. จากนั้นที่มุมบนขวามือคลิกบทความใหม่
6. ที่ชื่อเรื่อง ให้พิมพ์ ความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
7. ที่ช่องรายละเอียดให้พิมพ์เลขหมายของรูป ดูรูปและอ่านคำอธิบายใต้รูป จากนั้นพิมพ์ข้อความว่าแต่ละรูปเชื่อมโยงไปถึงเรื่องอะไร


1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการกิน ตัวอย่างเช่น ห่วงโซ่อาหาร 3 กลุ่ม
ปรับปรุงจาก Marsh & Grossa, 2002, p. 82.


2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน มนุษย์อาศัยความสัมพันธ์นี้ในการเกษตรกรรม
ที่มา (สมาคมผู้บริโภคสื่อสีขาว, ม.ป.ป.) (ปกรณ์ สุปินานนท์, 2551)



3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบอาศัยฝ่ายเดียว ตัวอย่างเช่น เกาะสุนัขที่พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมในภาคกลาง
ที่มา (เกาะสุนัข- พุทธมณฑล, 2546)


4. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบเกาะกินภายนอกร่างกายของผู้ถูกเกาะกิน ตัวอย่างเช่น เหาบนหัวมนุษย์
ที่มา (กวงคุง, 2550)

5. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบเกาะกินหรือปรสิต ตัวอย่างเช่น เด็กหญิงอายุ 7 ขวบที่จังหวัดเชียงรายในภาคเหนือถูกปลิงยาวประมาณ 1 นิ้ว เกาะดูดเลือดบริเวณลำคอ

ที่มา (ปลิงมฤตยูเกาะดูดเลือดเหยื่อไม่เลือกที่, 2548)


6.ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบเกาะกินภายในร่างกายผู้ถูกเกาะกิน ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยชาวเวียดนามติดเชื้อไวรัสจากไก่ ซึ่งมีอาการปอดถูกทำลาย และแผนที่แสดงการแพร่ระบาดของไข้หวัดนกในทวีปเอเชีย
ที่มา (วีระชัย ศักดาจิวะเจริญ, ม.ป.ป.) (แอปเพนเซลเลอร์, 2548, 107-110)


7. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบผู้ล่าและเหยื่อ ตัวอย่างเช่น เจ้าของนาเกลือจังหวัดอุดรธานีจับปลากะพงในบ่อเก็บน้ำกร่อยหลังการทำนาเกลือ
ที่มา (เริงฤทธิ์ คงเมือง, 2552, 138)


8. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบผู้ล่าและเหยื่อ ตัวอย่างเช่น ยุงเอเดสเอยิปตีพาหะนำเชื้อโรคไข้เหลือง มนุษย์ควบคุมจำนวนให้เป็นเหยื่อยุงอื่น
ที่มา (วรวุฒิ เจริญศิริ, 2548)

9. ผลกระทบของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ต่อระบบนิเวศธรรมชาติจากการสูญเสียพื้นที่ของระบบนิเวศ ตัวอย่างเช่น นายวรศักดิ์ วิทยาเมธีวงศ์ อายุ 56 ปี ชาวนครสวรรค์ และนายสนั่น แก้วดี อายุ 38 ปีหมู่ที่ 2 ตำบลอาโพน อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์2 ลักลอบส่งไม้พะยูงไปจีน
ที่มา (จับไม้พะยูงล็อตใหญ่, 2550, หน้า 1)

10.ผลกระทบของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ต่อระบบนิเวศธรรมชาติจากการสูญเสียพื้นที่ของระบบนิเวศ เป็นแผนที่แสดงแดนวิกฤตระบบนิเวศธรรมชาติของโลกในทวีปเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และโอเชียนเนีย

ที่มา (วิลสัน, 2545, 133)

11. ผลกระทบของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ต่อระบบนิเวศธรรมชาติจากการทำเกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ ตัวอย่างเช่น คนงานชาวทมิฬกำลังเก็บใบชาบนลาดเขา ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นระบบนิเวศป่าดิบ ป่าดิบปะปนทุ่งหญ้าที่รัฐเกรละ ประเทศอินเดียในภูมิภาคเอเชียใต้
ที่มา (เวิร์ด, 2545, 138-139)


12.ผลกระทบของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ต่อระบบนิเวศธรรมชาติจากการทำให้พื้นที่ระบบนิเวศ ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตขาดเป็นส่วนๆไม่ต่อเนื่องกัน ตัวอย่างเช่น การเกษตรกรรม
ปรับปรุงจาก Marsh & Grossa, 2002, p. 349



13.ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยกระบวนการสนับสนุนการดำเนินชีวิต ตัวอย่างเช่น น้ำในวัฏจักรน้ำ
ที่มา (สกว., 2548)

14. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยกระบวนการคุกคามการดำเนินชีวิต ตัวอย่างเช่น ทอร์นาโด รัฐโอคลาโฮมา ประเทศสหรัฐอเมริกาในทวีปอเมริกาเหนือ
ที่มา (ทอร์นาโด, 2547)


15. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยกระบวนการคุกคามการดำเนินชีวิต ตัวอย่างเช่น พายุเฮอร์ริเคนถล่มรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกาในทวีปอเมริกาเหนือหลายลูก และสภาพบ้านพังเพราะคลื่นซัดฝั่งจากพายุเฮอร์ริเคน
ที่มา (แคร์รอลล์, 2548, 60-65)



16.ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตจากไฟป่า ตัวอย่างเช่น ไฟป่าที่ตำบลบ้านปง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ในภาคเหนือ
ที่มา (ดูจะจะ สงครามฝุ่นเชียงใหม่, 2550)



17.แผนที่จังหวัดเสี่ยงภัยไฟป่าในประเทศไทย
ปรับปรุงจาก Wikimedia Commons, 2005


18. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นจากสิ่งแวดล้อมที่มองไม่เห็น ตัวอย่างเช่น ผู้หญิงชาวจีนใกล้ทะเลทรายโกบีในภูมิภาคเอเชียตะวันออก อาศัยในบ้านก่อด้วยอิฐโคลน ใช้แผงกระจกรับแสงอาทิตย์ในการหุงข้าวและชงชา
ที่มา (เว็บสเตอร์, 2545, 103)


19. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นจากสิ่งแวดล้อมที่มองไม่เห็น ตัวอย่างเช่น พิธีแกลมอหรือพิธีบำบัดผู้ป่วยของชาวกูย จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2548 ตามความเชื่อที่ว่าสาเหตุเกิดจากการกระทำของผี
ที่มา (เริงฤทธิ์ คงเมือง, 2549, 68-72)


20. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นจากสิ่งแวดล้อมที่มองไม่เห็น ตัวอย่างเช่นชาวมุสลิมร่วมกันทำละหมาดในนครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ พวกเขามาจากหลายวัฒนธรรมทั่วโลก
ที่มา (เบลต์, 2545, 126)


21.ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบแบบพึ่งพาอาศัยกัน ตัวอย่างเช่น ช้างและควาญเล่นน้ำในลำห้วยของศูนย์บริบาลช้าง จังหวัดเชียงใหม่ในภาคเหนือ
ที่มา (แซดวิก, 2548, 56)


22. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตจากการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน ตัวอย่างเช่นฝูงอูฐในทะเลทรายโกบีระหว่างประเทศจีนกับมองโกเลียในภูมิภาคเอเชียตะวันออก อูฐเหล่านี้แบกของหนักได้ถึง 200 กก. และอดน้ำได้หลายวัน
ที่มา (เว็บสเตอร์, 2545, 101)